วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

พระสมเด็จนาคปรก มงคลมหาลาภ ปี ๒๔๙๙ เนื้อผงโสฬสมหาพรหม คุณแม่บุญเรือน






































พระสมเด็จนาคปรกมงคลมหาลาภ ปี 2499 เนื้อผงโสฬสมหาพรหม หลังยันต์เฑาะห์รัสมี บนดอกบัว อ.อุ.ม พิมพ์ใหญ่

สร้างเป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี ซึ่งสร้างที่วัดสัมพันธวงศ์ พระนครแล้วเชิญไปประดิษฐานเป็นพระธาน ณ วัดสารนาถธรรมราม อำเภอแกลง จังหวัดระยอง พร้อมด้วยพระอัครสาวกซ้ายขวา เมื่อวันที่ ๕-๓๑ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๙ นั้น บางท่านยังไปทราบประวัติที่ควรทราบ ซึ่งเป็นเหตุจะจงใให้เกิดความเลื่อมใสสัทธา เพื่อได้เคารพบูชาให้แน่บแน่นสมกับเป็นปูชนียวัตถุที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นมงคลเหตุเครื่องเจริญอายุ วรรณะ สุขะ พละ แลลาภยศ สรรเสริญ สมบัติเกียรติศักดิ์ แลคุณธรรม คือเป็นสือสำคัญที่จะให้ใจเข้าถึงอิฐผลนั้นๆ อันนับว่าเป็นกำลังอันยิ่งใหญ่สำหรับชีวิต สามารถให้ถึงภาวะอันเป็นอิสสระเต็มที่ มีความเกษมนิรันดร 

เมื่อสร้างแจ้งให้ทราบแต่การประกอบพิธีบันจุพุทธมนต์เป็นพิเศษที่ยิ่งใหญ่โดยสังเขป ซึ่งยังไม่เคยเห็นทำที่ไหน คือจัดที่บูชาพร้อมเครื่องสังเวยต่างๆ มีเทียนธูป ข้าวตอก ดอกไม้ ๗ สี แลอาหารผลไม้ถึงอย่างละ ๓๗๕ ที่มีเบญจา มีเสวตฉัตร ๙ ชั้น สูง ๖ ศอก ๘ ต้น บายศรีเงิน บายศรีทอง ๙ ชั้น สูง ๖ ศอก อย่างละ ๘ ต้น บันจุพระพุทธมนต์ลงไปในน้ำ และผงที่จะสร้างพระนั้น โดยนิมนต์อาจารย์ผู้มีชื่อเสียงหลายวัดทำพิธีประจุมนต์ เข้าพิธีปลุกเศกมี 

พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ) วัดบวรนิเวศวิหาร 
พระวรเวทย์คุณาจารจย์ (เมี้ยน ปภสสโร) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม 
พระมหารัชชมังคลาจารย์ 
พระครูวินัยธรเฟื่อง (ญาณปปทีโป) 
พระสอาด อภิวฒฒโน วัดสัมพันธวงศ์ 
พระครูนอ วัดกลางท่าเรือ อยุธยา 
พระอาจารย์บุ่ง วัดใหม่ทองเสน 
พระชอบ สัมมาจารี วัดอาวุธวิกสิตาราม ธนบุรี 
เป็นต้น 

พร้อมด้วยบันจุ เทพมนต์พรหมมนต์ โดยเชิญเทพแลพรหมผู้มีชื่อเสียงเก่าๆ มาเข้าทรงประกอบพิธีอธิษฐานบันจุมนต์ลงด้วย และบันจุมนต์โยคีโดยโยคีฮาเร็บ (อาจารย์ชื่น จันทรเพ็ชร) ผู้มีชื่อเสียงและ พ.ต.อ.ชะลอ อุทกภาชน์ ผู้เป็นศิษย์เป็นผู้ทำพิธีบรรจุ เสร็จพิธีแล้ว จึงได้ใช้ผงประสมทำเป็นองค์พระได้มงคลฤกษ์ จึงได้ทำพิธีปลุกเศกพระเครื่องนั้นอีกครั้งหนึ่ง 

พระเครื่องที่จะทำพิธีปลุกเศกนั้น ห่อด้วยผ้าขาว ๗ ชั้น ผ้าเขียว ๗ ชั้น พิธีนอกนั้นเหมือนเมื่อบันจุมนต์ลงในผงแลน้ำที่จะสร้างพระ ตั้งน้ำมนต์สำหรับแจกผู้ต้องการซึ่งมาร่วมพิธี ๔๐ ตุ่ม แต่ไม่ได้กล่าวถิ่นผงที่นำมาประสมสร้างพระนั้นว่ามีอะไรบ้าง มีผู้สนใจต้องการทราบอยู่เป็นจำนวนมา จึงสมควรเขียนประวัติ เนื่องด้วยผงที่นำมาประสมสร้างพระเครื่องนั้น ให้ท่านทราบไว้ด้วย ดังต่อไปนี้ 

๑. ผงขอจากพระอาจารย์ต่างๆ ที่ท่านทำและรวบรวมไว้หลายวัด เช่นวัดพระเชตุพน วัดตรีทศเทพ วัดสัมพันธวงศ์ ฯลฯ ผงแป้งที่ทำแลผงจากพระของเก่าบ้าง 
๒.ผงพระที่ทำด้วยว่านต่างๆ ที่นิยมว่าเป็นมงคลศักดิ์สิทธิ์ ๑๐๘ อย่าง ทำจากดอกไม้บูชาพระต่างๆ ๑๐๘ อย่าง 
๓. ผงที่ทำด้วยดินจากท่าน้ำ ๗ ท่า และจากสระน้ำ ๗ สระ 
๔. ผงที่ทำด้วยเอาคัมภีร์เก่าๆ ทั้งใบลานแลสมุดข่อยมาเผาบด ตั้งแต่หมายเลข ๑ ถึง ๕ นี้ประสมสร้างพระผงรุ่นก่อน แล้วเอาบดผสมเข้ากัน กับผงใหม่ที่นำมาเข้าพิธีนี้ด้วย 
๕. ผงที่ได้จากดินที่สังเวชนียสถาน แห่งในอินเดียคือ ๑ ดินที่ลุมพินีระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และเทวทหะ ซึ่งเป็นที่ประสูดของพระพุทธเจ้า ๒ ดินที่มหาโพธิพุทธคยาที่ตรัสรู้ ๓ ดินทีสารนาถ มฤคทายวัน เมื่องพาราณสี ซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมจักร ๔ ดินที่กุสินนาราซึ่งเป็นที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน 
๖. ดินจากสถานที่สำคัญอีก ๙ แห่ง คือดินจากสถานที่พระพุทธเจ้าเสด็จเสวยวิมัติสุข ๗ แห่ง ปริเวณพุทธคยา มีที่รัตนะจงกลม แลที่สระมุจลินเป็นต้น แลดินที่พระคัณธกุฏีที่ประทับของพระพุทธเจ้าบนเขาคิชกูฏ (เมืองราชคฤห์) ๑ ดินที่พระคันธกุฏีที่ประทับในเมืองสาวัตถี ๓ ซึ่งพระครูสุภารพินิจ (โทน สุขพโล) วัดสัมพันธวงศ์ ได้ไปนมัสการปูชนียสถานนั้นๆ และได้นำมาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๗ ผู้ที่มีพระเครื่องแบบพุทธมงคลมหาลาภ พระแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นต้นไว้บูชา เป็นอันได้ระฃึกถึงแลบูชา สังเวชนัยสถานด้วย 
๗. ผงปูนขาวหินราชบุรี 
๘. ผงปูนซิเมนต์ขาว และนอกจากนี้ ก็ยังมีดินเหนียวอย่างดี สีเหลือง แลน้ำอ้อยเป็นต้น 

ผงเหล่านี้นั้น ประสมกันมากบ้างน้อยบ้าง แล้วบดให้ละเอียดแร่งกรองด้วยผ้าป่าน สำเร็จเป็นผงที่จะสร้างพระเครื่อง ใช้น้ำมนต์ที่ทำไว้นั้นประสมกับของที่จะทำพระให้พระมีคุณภาพดี สวยงามทนทาน ศักดิ์สิทธิ์ต่อไป ประสมผงพิมพ์เป็นรูป พระพุทธมงคลมหาลาภ บ้างสมเด็จบ้าง 

ส่วนพระเครื่องอื่นสร้างด้วยดินประสมผงเผาแล้วนำมา เข้าพิธีปลุกเศกในคราวเดียวกันกับพระพุทธมงคลมหาลาภเสร็จพิธีแล้วแจกจ่ายในงานสมโภชพระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี พร้อมด้วยพระอัครสาวก ในการต่อมา พระเครื่องเหล่านี้ เมื่อแจกจ่ายแก่ผู้จำนงในงานผูกพัทธสีมา อุโบสถวัดสารนาถธรรมารามแล้ว ก็จะได้จัดการทำพิธีบันจุในอุโบสถ หรือเจดีย์ตามควร เพื่อเป็นมิ่งขวัญแก่วัดสารนาถธรรมาราม อันเป็นมหาปูชนียสถานในกาลต่อไปฯ 

จากบันทึกของพระมหารัชชมังคลาจารย์(เทศ นิเทสโก) ดังกล่าวข้างต้น
อาจที่จะสรุป เพื่อความเข้าใจง่ายที่สุดก็คือ 
1. พระผงมงคลมหาลาภนี้ สร้างในงานฉลอง"พระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี" หรือ"พระพุทโธใหญ่"ที่คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติมสร้างถวายเป็นพระประธานประจำพระอุโบสถ วัดสารนาถธรรมาราม อ.แกลง จ.ระยอง ของท่านเจ้าคุณพระมหารัชชมังคลาจารย์ อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ในสมัยนั้น ท่ามกลางเหตุปาฏิหาริย์มากมาย(จะได้กล่าวต่อไปในภายหลัง) 
2.ผงโสฬสมหาพรหมที่นำมาสร้างพระผงมงคลมหาลาภนี้ เกิดจากการใช้วิชาพรหมศาสตร์อัญเชิญพรหมอริยะชั้นโสฬส(สุทธาวาส) และพระผู้เป็นเจ้าของทั้ง 3 ศาสนา(พราหมณ์,คริสต์,อิสลาม) ซึ่งพระอริยคุณาธาร(ปุสโส เส็ง) และท่านผู้รู้ต่างๆกล่าวตรงกันว่า แท้จริงแล้ว "พระเจ้า"หรือ"พระผู้เป็นเจ้า"เหล่านี้ ก็เป็น"พระเถระ"ของ"พุทธ" ที่เดินทางไปเผยแพร่ศาสนาตามสถานที่ต่างๆ แล้วคนรุ่นต่อมามาตีความดัดแปลงไปตามความเชื่อส่วนตัวของศาสดานั้นๆ จนเคลื่อนจากหลักเดิมไป 
3. ผง"โสฬสมหาพรหม" (ความจริงน่าเรียกว่า ผง"มหาพรหมอริยะโพธิสัตว์ผู้เป็นเจ้า" จะตรงและครอบคลุมกว่า) ไม่ได้เป็นการลบผงทีละกระดาน (ไม่ทันกิน) เลยเล่นเอาผงปูนมาเสกทีละเป็นกระสอบๆ โดยเชิญ"พระเบื้องบน"ลงประทับทำ ซึ่งก็ได้ผลเป็นที่น่าอัศจรรย์ ที่แม้แต่ท่านพ่อลี วัดอโศการามเมื่อสัมผัสผงนี้แล้ว ก็ถึงกับสะดุ้งออกวาจาอุทานว่า "เฮ็ดหยังแรงจังซี่" ( อะไรจะพลังแรงได้ขนาดนี้??) ก่อนที่จะขอผงพระมงคลมหาลาภหักๆไปผสมทำพระใบโพธิ์ 25 ศตวรรษที่วัดอโศการามในเวลาต่อมา รวมถึงอาจารย์ปถม อาจสาครเอง ก็ได้เอาผงพระ"มงคลมหาลาภ"หักๆนี้ไปทำพระผงรุ่น"โสฬสมหาพรหม" 2505 ของหลวงปู่ทิม วัดละหารไร่จนดังระเบิดในเวลาต่อมาด้วย สมกับท่านอาจารย์ปถมบันทึกไว้เองว่า " รวมรวมผงหักป่นไว้ได้สักโหลใหญ่ พระที่ผมสร้างจึงขลัง"เพราะได้ผงหลักจาก"พระมงคลมหาลาภ"นี่เอง (ใครไม่มีพระผงโสฬสมหาพรหมของหลวงปู่ทิมที่หายากและแพงจัด หากมีพระผงมงคลมหาลาภนี้ไว้ ก็คง"นอนหลับฝันหวาน"ไป 3 วัน 7 วันได้แล้วนะครับ..... 
4.และเมื่อเอาผง"โสฬสมหาพรหม"หรือผง"มหาพรหมอริยะโพธิสัตว์ผู้เป็นเจ้า"มากดพิมพ์สร้างพระ"มงคลมหาลาภ"แล้ว ก็ได้ประกอบพิธีทางพรหมศาสตร์อัญเชิญ"พรหมโสฬส"และ"พระผู้เป็นเจ้า" ลงเสกซ้ำอีกครั้ง พร้อมด้วยพระเกจิคณาจารย์ชื่อดังยุค 2500 อย่างมหาศาล มีหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี, หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ,หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอมฯลฯ ที่วัดสัมพันธวงศ์เป็นประเดิมก่อน แล้วจึงอัญเชิญไปประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกพร้อมกับ"พระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี"(พระพุทโธใหญ่) ที่วัดสารนาถธรรมาราม ระยองอีก 18 วัน 18 คืน โดยพระคณาจารย์สายหลวงปู่มั่น 100 กว่าองค์ (มีพระอาจารย์สิงห์ ขันยาคโม,หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯเป็นอาทิ) พร้อมกันนี้ ก็ยังได้นิมนต์พระสายตะวันออก,ระยองมาร่วมนั่งปรกด้วย (มี หลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง, หลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่ เป็นต้น ฯลฯ) โดยมี"ท่านพ่อลี วัดอโศการาม" เป็น"เจ้าพิธี"ฝ่ายสงฆ์ และมี "คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม" วัดอาวุธฯ เป็นทั้ง"เจ้าพิธี"และ"ประธานดำเนินการสร้าง/เสก" ทุกขั้นตอนเอง 

เกร็ดพิเศษ พระมงคลมหาลาภ(เพิ่มเติม)

1.สร้างจากผง"โสฬสมหาพรหม" ล้วนๆ (ผง"กูโบ๊ส" หรือที่บางคนเรียกว่า"ผงโสฬสมหาพรหม" ได้ทำขึ้นเพื่อพระชุดนี้เป็นการเฉพาะ ที่แม้แต่ท่านพ่อลี วัดอโศการามสัมผัสดูถึงกับสะดุ้ง ร้องว่า"เฮ็ดหยังแรงจั่งซี่" และขอผงพระหัก 1 บาตรไปผสมสร้างพระใบโพธิ์ วัดอโศการาม ,อาจารย์ปถม อาจสาคร เอาพระหักรุ่นนี้ไปสร้างชุด"บินเดี่ยว" หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่จนดังระเบิด) 

2.ผงวิเศษ รวมจากสุดยอดพระคณาจารย์ในยุค 2500 มากมาย 

3.พิธีพุทธาภิเษกครั้งแรก ที่วัดสัมพันธวงศ์ นอกจากจะทำพิธีเสกแบบ"พรหมศาสตร์" เหมือนตอนทำผง"โสฬสมหาพรหม" (เสกก็นิมนต์พรหมชั้นโสฬสลงมาเสกด้วย)แล้ว ก็ยังได้นิมนต์สุดยอดพระคณาจารย์ในยุคนั้นอย่างมหาศาล น้องๆพระ 25 ศตวรรษ มีหลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี,หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ, หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม เป็นต้นฯลฯ 

4. และยังเสกเบิ้ลที่วัดสารนาถธรรมาราม ระยอง อีกถึง 18 วัน 18 คืน ด้วยพระสายระยอง (มีหลวงพ่อโต วัดเขาบ่อทอง, หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ เป็นอาทิ) พร้อมสายกรรมฐาน ศิษย์พระอาจารย์มั่นอีก 100 กว่าองค์ นำทีมโดยพระอาจารย์สิงห์ ขันตยคโม,หลวงปู่ฝั้น อาจาโร, ท่านพ่อลี ธัมมธโร ฯลฯ ในพิธีสมโภช"พระพุทโธภาสชินราชจอมมุนี" หรือ"พระพุทโธใหญ่" ที่คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม เป็นประธานจัดสร้างและคุมงานเอง 
หมายเหตุ ...พูดง่ายๆก็คือ พระพิธีนี้ เป็นการผนึกกำลังของพระสาย"เกจิ"และ"อริยะ" ระดับสุดยอดมากเป็นประวัติการณ์ ยิ่งกว่า"พระ 25 ศตวรรษ"เสียด้วยซ้ำ (พระ 25 ศตวรรษจะมีสายวิทยาคมเสียโดยมาก แต่สายกรรมฐานมีน้อยกว่า และเสกกันเพียง 3 วัน และครั้งเดียวที่วัดสุทัศน์เท่านั้น) อีกทั้งยังเป็นพิธีที่เหมือนจะเป็นการ"ประลองฤทธิ์"กันสุดๆระหว่าง "ท่านพ่อลี วัดอโศการาม" พระอริยเถระผู้ยิ่งด้วยบุญฤทธิ์ เป็น"เจ้าพิธีฝ่ายบรรพชิต" กับ"คุณแม่บุญเรือน โตงบุญเติม" ยอดหญิงอริยะผู้ยิ่งด้วยอิทธิฤทธิ์เป็น"เจ้าพิธีฝ่ายฆราวาส" (โอย..แค่คิดก็"มันส์หยด"แล้ว....อยากมีตาทิพย์จัง จะได้ย้อนไปดูเหตุการณ์ในวันนั้น ว่างานนั้นท่านใช้ฌาณฤทธิ์ระดับสุดยอดสู้กันเปรี๊ยะๆเปรี้ยงๆปร้างๆฟ้าถล่ม แผ่นดินทลาย เพื่อสร้างความขลังกันสุดฤทธิ์สุดเดชถึงขนาดไหนนะเนี่ย???) 

5. สร้างจำนวนเพียง 84,000 องค์ *** จำนวนการสร้าง มีบางกระแส ก็บอกสร้างน้อยกว่านี้ แต่ 84,000 เป็นจำนวนของพระธรรมขันธ์ ซึ่งตามคิต จะสร้างเท่ากับจำนวนนี้ ***

6.เรื่องของประสพการณ์ไม่ต้องพูด คนระยอง,จันทรบุรีรู้ซึ้งถึงเยื่อในกระดูกดี มีคนรอดตายจากพายุ เพราะมีพระนี้ห้อยคออยู่องค์เดียวโดดๆก็มีมาแล้ว 

7.พระชุดนี้ ขลังขนาดเปล่งรัศมีสีเขียวยาวเป็นวาให้พระในสมัยนั้น เห็นด้วย"ตาเนื้อ"กันจะๆได้ 

8.บูชาแทน "พระผงโสฬส หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่" ที่"แพงจัด"และ"ปลอมระเบิด"ได้อย่างสบายๆ เพราะนี่คือ"ต้นธาตุ"แห่ง"พระผงโสฬส" แถมยังได้นิมนต์หลวงปู่ทิม ตอนอายุ 70 กว่าๆมานั่งปรกด้วย 

9.อ.ปถม อาจสาคร หลังจากที่"ลุย"มาร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ ถึงกับต้องยกนิ้วการันตีแบบสุดตัวว่า พระมงคลมหาลาภนี้ "แคล้วคลาดสุดยอด" ชนิด "ไม่ต้องหาพระรอดมหาวัน"ให้เหนื่อยยากเลยทีเดียว.....!!!!! 

พระผงที่ดีที่สุดในยุค 2500








วันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

พระพุทโธน้อย แม่ชีบุญเรือน วัดสารนาถ จ.ระยอง ปี ๒๕๑๖
































พระพุทโธน้อย ผสมมวลสารพระผงของ แม่ชีบุญเรือน จัดสร้างในปี 2516 มี 2 พิมพ์ พุทธคุณไม่แพ้รุ่นแรกครับ ปลุกเสกและร่วมกันอธิษฐานจิต ทำพิธีในวันที่สร้างศาลาการเปรียญที่วัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยอง ปี พ.ศ.2516 เมื่อเสร็จงานก็นำพระส่วนที่เหลือบรรจุกรุไว้ที่วัดสารนาถธรรมาราม สภาพเดิมๆ มีพระเกจิอาจารย์ชื่อดังของเมืองระยอง มาร่วมพิธีปลุกเสกด้วย ทั้ง หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ ,หลวงปู่คร่ำ วัดวังหว้า, หลวงพ่อบุญ วัดบ้านนา หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือ, หลวงปู่แหวน สุจิณโณ และพระเกจิอาจารย์สายธรรมยุต และ สายมหานิกาย ร่วมกันอธิษฐานจิต ปลุกเสกกันเลยทีเดียว 

พระโพธิจักร พิมพ์ห้าเหลี่ยม เนื้อผงเกสร ท่านพ่อลี วัดอโศการาม ปี ๒๕๐๐





























พระโพธิจักร พิมพ์ห้าเหลี่ยม เนื้อผงเกสร ท่านพ่อลี วัดอโศการาม ปี ๒๕๐๐



































































วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

พระนาคปรกมงคลมหาลาภ ปี 2499 เนื้อผงโสฬสมหาพรหม คุณแม่บุญเรือน

เป็นพระนาคปรกสี่เหลี่ยม เนื้อผงขาว (และส่วนผสมดังกล่าวแล้ว) ด้านหลังเป็นยันต์เฑาะดอกบัว อะอุมะ พิมพ์ใหญ่กลางเล็ก จำนวน ๘๔,๐๐๐ องค์ ซึ่ง “พระรัชชมงคลมุนี” (พระมหารัชชมังคลาจารย์) อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ ได้มอบให้ “พระชอบ สัมมาจารี” วัดอาวุธวิกสิตาราม กรุงเทพ ฯ สร้าง เพื่อนำมาแจกในงานสมโภชพระประธาน โดยส่ง “ผงอิทธิเจ ผงพุทธคุณต่าง ๆ เป็นแท่ง ๆ ประทับตรา “วัดสัมพันธวงศ์” ให้นำมาผสม โดยเรียก “พระนาคปรก” นี้ว่า “พระมงคลมหาลาภ” ซึ่งมีชื่อของท่านคือ “พระรัชชมงคลมุนี” อยู่ในชื่อพระด้วย ในพิธีนี้แม่ชีบุญเรือนได้อธิษฐานจิตร่วมอยู่ในพิธีด้วย หลวงพ่อลี วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ องค์ประสานงานพิธีพุทธาภิเษกครั้งนี้ ได้บอกศิษย์ว่า “พระผงนี้ดีมาก มีรังสี สีขาว และเหลือกระจายออกสว่างไสว” นอกนั้น ท่านยังได้ขอพระผงมงคลมหาลาภที่ชำรุดประมาณ ๑ บาตรพระ นำไปบดใส่ “พระใบโพธิ์เนื้อดิน พ.ศ. ๒๕๐๐“ ของท่านด้วย ขนาดขององค์พระ พิมพ์ใหญ่ ฐานกว้างประมาณ ๒.๕ – ๓.๘ ซม. หนา ๐.๕ ซม. พิมพ์เล็ก ฐานกว้างประมาณ ๒.๒ – ๒.๕ ซม. หนา ๐.๕ ซม ด้านหลัง มีตราวัดสัมพันธวงศ์ “เฑาะรัศมีดอกบัว อ.อุ.ม. ประทับลงในเนื้อเป็นตรารูปไข่ ขนาดของความหนาไม่แน่นอน หนาบ้าง บางเฉียบบ้าง แล้วแต่ขนาด พระพิมพ์นี้ คนระยอง คนจันทบุรี คนตราด อีกทั้งชาวประมงแถบภาคตะวันออกห้อยคอองค์เดียวรู้ถึงพุทธคุณเป็นอย่างดีโดยเฉพาะช่วงที่มีใต้ฝุ่นเข้าแหลมตะลุมพุก ผู้ที่แขวนพระองค์นี้ลอยอย่างปาฏิหาริย์ จึงเป็นที่แสวงหากันมาก ข้อมูลจากคำบอกเล่าของท่านเจ้าคุณ พระราชรัชมงคลโกวิท พระราชรัชมงคลโกวิท เจ้าอาวาสวัดสารนาถธรรมาราม จ.ระยอง องค์ปัจจุบัน เล่าว่า พิธีพุทธาภิเษกครั้งนี้ พระกรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต กว่าร้อยรูป มี พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์วัน อุตฺตโม พระอาจารย์ลี วัดอโศการาม เป็นต้น ทำพิธีนั่งปรกพุทธาภิเษกพระประธาน และพระเครื่องต่าง ๆ มีพระมงคลมหาลาภ พระพุทโธน้อย เป็นต้น โดยทำพิธี ๑๘ วัน ๑๘ คืน ท่านเล่าต่ออีกว่า ในชีวิตที่ท่านเกิดมา ยังไม่เคยเห็นพิธีพุทธาภิเษกที่ไหนใหญ่โตเท่าครั้งนี้อีกเลย (ปีที่บอกข้อมูลนี้ ท่านอายุ ๘๐ ปี มรณภาพเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑)

สมเด็จพิมพ์พิเศษหลวงปู่แหวน ปี๒๕๑๖



พระสมเด็จพิมพ์ใหญ่หลัง อ.อุ.ม. หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่

พิธีปลุกเสกในวาระแรก ปี 2516
-วัตถุมงคลชุดนี้มี พระพุทธรูปบูชาจำลอง ขนาด 5 นิ้ว 9 นิ้ว รวมพระเครื่องของหลวงปู่แหวน สุจินโณ ซึ่งได้อนุญาตให้ทางวัดเกาะจัดสร้างหลายชนิด เมื่อปีพ.ศ.2516 
-ปลุกเสกครั้งที่ 1 ในวันมาฆะบูชา 7 กุมภาพันธ์ ปี 2516 
-ปลุกเสกครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 7 หลวงปู่อายุครบ 7 รอบ 16 มกราคม ปี 2517

พิธีมหาพุทธาภิเษกวาระที่ 2 หมายกำหนดการ ไว้ 3 วัน

-ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษก พระพุทธปฏิมาปรานประจำพระอุโบสถสร้างใหม่ ของวัดสัมพันธวงศ์, พระพุทธรูปบูชาจำลองหน้าตัก 5 นิ้ว 9 นิ้ว และพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พระเกศพระพุทธปฏิมาประธาน โดยกราบทูลอาราธนา เจ้าประคุณสมเด็จพระสังฆราชเสด็จเป็นประธานประกอบพิธี กับได้ทูลเชิญพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ ยุคล เป็นประธานอำนวยการจัดงาน และทูลเชิญ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงษ์ประพันธ์ องค์อุปถัมภ์ของวัด เป็นประธานที่ปรึกษา
ณ พระอุโบสถวัดสัมพันธวงศ์ (วัดเกาะ) กรุงเทพมหานครวันที่ 29 30 31 ธันวาคม พ.ศ. 2517

กำหนดมหาพุทธาภิเษกเฉพาะวันที่ 30 ธ.ค. 2517
-มีพิธีในวันจันทร์ที่ 30 ธ.ค. 2517 สมเด็จพระสังฆราช ทรงประกอบ พิธีจุดเทียนชัยมหาพุทธาภิเษก เวลา 20.36 นาฬิกา มีพระอาจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณ จากภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ รวม 60 รูป มานั่งปรกบริกรรมภาวนาปลุกเสกตลอดคืน มีดังนี้

1.หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี (ชรามาก จะแผ่พลังเมตตาจิตมาในวันพิธี)
2.หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ (ชรามาก จะแผ่นพลังเมตตาจิตมาให้ในวันพิธี)
3.พระอาจารย์บุญมา ฐิตเปโต วัดสิริสาลวัน อุดรธานี
4.พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ วัดนิโครธาราม อุดรธานี
5.พระอาจารย์บุญ ชินวโส วัดศรีสว่างแดนดิน สกลนคร
6.พระอาจารย์จันทร์ เขมปปตโต วัดจันทาราม หนองคาย
7.พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม สกลนคร
8.พระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ วัดภูทอก หนองคาย
9.พระอาจารย์ลี ฐิตธมโม วัดศรีชมพู สกลนคร
10.พระอาจารย์แว่น ธนปาโล วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร
11.พระอาจารย์อุ่น กลยาณธมโม วัดป่าบ้านโคก สกลนคร
12.พระอาจารย์สุภาพ ธมมปญโญ วัดทุ่งสว่าง สกลนคร
13.พระอาจารย์คล้าย ทานรโต วัดสุจินต์ประชาราม สกลนคร
14.พระอาจารย์เตรียม ธมมธโร วัดสามัคคีธรรม สกลนคร
15.พระอาจารย์เคน เขมาสโย วัดป่าบ้านหนองหว้า สกลนคร
16.พระอาจารย์บุญมี ฐิตปุญโญ วัดประชานิยม สกลนคร
17.พระอาจารย์ประสาร ปญญาพโล วัดคามวาสี สกลนคร
18.พระอาจารย์บัว วัดป่าบ้านเสาเส้า อุดรธานี
19.พระอาจารย์ปั่น ญาณวโร วัดพุฒาราม สกลนคร
20.พระอาจารย์สมัย ทีฆายุโก วัดโนนแสงทอง สกลนคร
21.พระอาจารย์เกิ่ง วิทิโต วัดสามัคคีบำเพ็ญผล สกลนคร
22.พระสังวรวิมลเถร (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯ
23.พระวิบูลเมธาจารย์ (หลวงพ่อเก็บ) วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
24.พระครูสุตาธิการี (หลวงพ่อทองอยู่) วัดหนองพะอง สมุทรสาคร
25.พระครูวิจารณ์สมถกิจ (จรัญ เขมจารี) วัดประชารังสรรค์ ศรีสะเกษ
26.พระครูพิเนตสมณกิจ วัดประชารังสฤษฎ์ ศรีสะเกษ
27.พระครูพิพิธพัชรศาสน์ (หลวงพ่อจ้วน) วัดเขาลูกช้าง เพชรบุรี
28.พระครูพิทักษ์วิหารกิจ (หลวงพ่อสา) วัดราชนัดดา กรุงเทพฯ
29.พระครูญาณจักษ์(ปรมาจารย์ผ่อง จินดา) วัดจักรวรรดิ กรุงเทพฯ
30.พระศีลขันธโสภณ (หลวงพ่อสนิท) วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
31.พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต กรุงเทพฯ
32.พระอุดมสารโสภณ (ผาสุก) วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ
33.พระญาณโพธิ (หลวงพ่อเข็ม) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
34.พระครูวรพรตศีลขันธ์ (หลวงพ่อแฟ้ม) วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
35.พระสิรินันทมุนี (สนั่น) วัดพิตรพิมุข กรุงเทพฯ
36.หลวงปู่ฟัก วัดวังไทรติ่ง ประจวบคีรีขันธ์
37.พระครูประจักษ์ตันตยาคม (เฉลา) วัดคีรีภาวนาราม ระยอง
38.พระอาจารย์พวง สุวีโร วัดป่าบ้านปูลู อุดรธานี
39.พระอาจารย์แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
40.พระอาจารย์ศรีนวล สิริปญโญ วัดศรีไตรรัตนนิมิต อุดรธานี
41.พระอาจารย์บุญมี วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี
42.พระอาจารย์หนู สุจิตโต วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
43.พระครูสังฆรักษ์ (หลวงพ่อหิน) วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ
44.พระปัญญาพิศาลเถร (สงวน) วัดราชประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
45.พระธรรมภาณโศภน (สวัสดิ์) วัดปลดสัตว์ อ่างทอง
46.พระพ่อสาม อภิญจโน วัดไตรวิเวการาม สุรินทร์
47.พระพ่อศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม ร้อยเอ็ด
48.พระสุทธิสารโสภณ(โสภณ) วัดศรีโพนแท่น เลย
49.พระอาจารย์เปลี่ยน วัดบ้านปง เชียงใหม่
50.พระชินวงศาจารย์(พุธ) วัดป่าสาลวัน นครราชสีมา
51.หลวงพ่อบุญ วัดบ้านนา ระยอง
52.หลวงพ่อคร่ำ วัดวังหน้า ระยอง
53.พระครูวิจิตรธรรมภาณี(สิงห์) วัดหนองบัว อุบลฯ
54.พระอาจารย์เมือง พลวฑฺโฒ วัดป่ามัชฌิมวาส กาฬสินธุ์

รายการปูชนียวัตถุมงคลของหลวงปู่แหวนมีดังนี้
1.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 5 นิ้ว สร้างจำนวน 1517 องค์ องค์ละ 700 บาท
2.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 9 นิ้ว สร้างจำนวน 1000 องค์ องค์ละ 2,000 บาท
3.เหรียญพระแก้วมรกต (มณีรัตนะ) ชนิดทองคำจำนวน 84 เหรียญจัดเป็นชุดมีทองคำ เงิน นวะ ทองแดง 1,200 บาท
-ชนิดเหรียญเงิน 100 บาท
-ชนิดนวโลหะ 50 บาท
-ชนิดทองแดงชุบทอง 10 บาท
4.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวบาน บรรจุเกศา ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์สำหรับจัดเป็นชุดๆละ 5,000 บาท
-ชนิดเงินบรรจุเกศา องค์ละ 300 บาท
-ชนิดนวโลหะบรรจุเกศา องค์ละ 200 บาท
-ชนิดเนื้อชินชุบทองอัดพลาสติก องค์ละ 85 บาท
5.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวตม บรรจุเกศาชนิดผง องค์ละ 50 บาท
6.พระสมเด็จพิมพ์พิเศษมหาพุทธานุภาพ องค์ละ 50 บาท
7.พระสมเด็จมหาสิทธิโชค องค์ละ 40 บาท
8.พระสมเด็จผงใบลานชาญวิทยา องค์ละ 20 บาท
9.พระสมเด็จพิมพ์หูบายศรีมีเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
10.พระสมเด็จพิมพ์หูยานอยู่ยงคงกระพัน องค์ละ 20 บาท
11.พระสมเด็จพิมพ์ปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 20 บาท
12.พระสมเด็จพิมพ์ซุ้มทรงยันต์กันภัย องค์ละ 20 บาท
13.สมเด็จพิมพ์นางพญามหาเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
14.สมเด็จทุ่งเศรษฐีทวีทรัพย์ องค์ละ 20 บาท
15.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 10 บาท
16.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 10 บาท
17.พระสมเด็จพิมพ์ทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 20 บาท
18.พระรอดปลอดภัยอันตราย องค์ละ 20 บาท
19.พระซุ้มกอหลวงปู่แหวนแสนสุข องค์ละ 10 บาท
20.เหรียญพระประธานยุคเชียงแสนวัดดอยแม่ปั๋ง ฉลองอายุ 84 ปี เหรียญละ 20 บาท
21.เหรียญเพิ่มยศของอดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ เสก 1ไตรมาส เหรียญละ 20 บาท
22.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวนยืนหลังรางปืน ฉลองอายุ 84 ปี ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์ จัดชุดละ 2,500 บาท
-ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 30 บาท
23.เหรียญมหามงคล (พระมหารัชชมังคลาจารย์)
-ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 20 บาท
24.รูปหล่อโลหะหลวงปู่แหวน สุจิณโณ 5 นิ้ว องค์ละ 500 บาท
25.ตราวัด สำหรับกลัดเนคไท หลวงปู่แหวน สุจิณโณ อันละ 100 บาท
26.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
ชนิดกลมใหญ่
-ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ เหรียญละ 70 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 30 บาท
ชนิดกลมเล็ก
-ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อโลหะ เหรียญละ 40 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 20 บาท
27.เหรียญสมเด็จพระสังฆราชองค์ปัจจุบัน เหรียญละ 100 บาท

เหรียญรูปเหมือนยืนหลังรางปืน (วัดเกาะ) หลวงปู่แหวน สุจินโณ วัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่ ปี๒๕๑๗



พิธีปลุกเสกในวาระแรก ปี 2516
-วัตถุมงคลชุดนี้มี พระพุทธรูปบูชาจำลอง ขนาด 5 นิ้ว 9 นิ้ว รวมพระเครื่องของหลวงปู่แหวน สุจินโณ ซึ่งได้อนุญาตให้ทางวัดเกาะจัดสร้างหลายชนิด เมื่อปีพ.ศ.2516 
-ปลุกเสกครั้งที่ 1 ในวันมาฆะบูชา 7 กุมภาพันธ์ ปี 2516 
-ปลุกเสกครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 7 หลวงปู่อายุครบ 7 รอบ 16 มกราคม ปี 2517

พิธีมหาพุทธาภิเษกวาระที่ 2 หมายกำหนดการ ไว้ 3 วัน

-ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษก พระพุทธปฏิมาปรานประจำพระอุโบสถสร้างใหม่ ของวัดสัมพันธวงศ์, พระพุทธรูปบูชาจำลองหน้าตัก 5 นิ้ว 9 นิ้ว และพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พระเกศพระพุทธปฏิมาประธาน โดยกราบทูลอาราธนา เจ้าประคุณสมเด็จพระสังฆราชเสด็จเป็นประธานประกอบพิธี กับได้ทูลเชิญพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ ยุคล เป็นประธานอำนวยการจัดงาน และทูลเชิญ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงษ์ประพันธ์ องค์อุปถัมภ์ของวัด เป็นประธานที่ปรึกษา
ณ พระอุโบสถวัดสัมพันธวงศ์ (วัดเกาะ) กรุงเทพมหานครวันที่ 29 30 31 ธันวาคม พ.ศ. 2517

กำหนดมหาพุทธาภิเษกเฉพาะวันที่ 30 ธ.ค. 2517
-มีพิธีในวันจันทร์ที่ 30 ธ.ค. 2517 สมเด็จพระสังฆราช ทรงประกอบ พิธีจุดเทียนชัยมหาพุทธาภิเษก เวลา 20.36 นาฬิกา มีพระอาจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณ จากภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ รวม 60 รูป มานั่งปรกบริกรรมภาวนาปลุกเสกตลอดคืน มีดังนี้

1.หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี (ชรามาก จะแผ่พลังเมตตาจิตมาในวันพิธี)
2.หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ (ชรามาก จะแผ่นพลังเมตตาจิตมาให้ในวันพิธี)
3.พระอาจารย์บุญมา ฐิตเปโต วัดสิริสาลวัน อุดรธานี
4.พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ วัดนิโครธาราม อุดรธานี
5.พระอาจารย์บุญ ชินวโส วัดศรีสว่างแดนดิน สกลนคร
6.พระอาจารย์จันทร์ เขมปปตโต วัดจันทาราม หนองคาย
7.พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม สกลนคร
8.พระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ วัดภูทอก หนองคาย
9.พระอาจารย์ลี ฐิตธมโม วัดศรีชมพู สกลนคร
10.พระอาจารย์แว่น ธนปาโล วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร
11.พระอาจารย์อุ่น กลยาณธมโม วัดป่าบ้านโคก สกลนคร
12.พระอาจารย์สุภาพ ธมมปญโญ วัดทุ่งสว่าง สกลนคร
13.พระอาจารย์คล้าย ทานรโต วัดสุจินต์ประชาราม สกลนคร
14.พระอาจารย์เตรียม ธมมธโร วัดสามัคคีธรรม สกลนคร
15.พระอาจารย์เคน เขมาสโย วัดป่าบ้านหนองหว้า สกลนคร
16.พระอาจารย์บุญมี ฐิตปุญโญ วัดประชานิยม สกลนคร
17.พระอาจารย์ประสาร ปญญาพโล วัดคามวาสี สกลนคร
18.พระอาจารย์บัว วัดป่าบ้านเสาเส้า อุดรธานี
19.พระอาจารย์ปั่น ญาณวโร วัดพุฒาราม สกลนคร
20.พระอาจารย์สมัย ทีฆายุโก วัดโนนแสงทอง สกลนคร
21.พระอาจารย์เกิ่ง วิทิโต วัดสามัคคีบำเพ็ญผล สกลนคร
22.พระสังวรวิมลเถร (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯ
23.พระวิบูลเมธาจารย์ (หลวงพ่อเก็บ) วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
24.พระครูสุตาธิการี (หลวงพ่อทองอยู่) วัดหนองพะอง สมุทรสาคร
25.พระครูวิจารณ์สมถกิจ (จรัญ เขมจารี) วัดประชารังสรรค์ ศรีสะเกษ
26.พระครูพิเนตสมณกิจ วัดประชารังสฤษฎ์ ศรีสะเกษ
27.พระครูพิพิธพัชรศาสน์ (หลวงพ่อจ้วน) วัดเขาลูกช้าง เพชรบุรี
28.พระครูพิทักษ์วิหารกิจ (หลวงพ่อสา) วัดราชนัดดา กรุงเทพฯ
29.พระครูญาณจักษ์(ปรมาจารย์ผ่อง จินดา) วัดจักรวรรดิ กรุงเทพฯ
30.พระศีลขันธโสภณ (หลวงพ่อสนิท) วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
31.พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต กรุงเทพฯ
32.พระอุดมสารโสภณ (ผาสุก) วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ
33.พระญาณโพธิ (หลวงพ่อเข็ม) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
34.พระครูวรพรตศีลขันธ์ (หลวงพ่อแฟ้ม) วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
35.พระสิรินันทมุนี (สนั่น) วัดพิตรพิมุข กรุงเทพฯ
36.หลวงปู่ฟัก วัดวังไทรติ่ง ประจวบคีรีขันธ์
37.พระครูประจักษ์ตันตยาคม (เฉลา) วัดคีรีภาวนาราม ระยอง
38.พระอาจารย์พวง สุวีโร วัดป่าบ้านปูลู อุดรธานี
39.พระอาจารย์แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
40.พระอาจารย์ศรีนวล สิริปญโญ วัดศรีไตรรัตนนิมิต อุดรธานี
41.พระอาจารย์บุญมี วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี
42.พระอาจารย์หนู สุจิตโต วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
43.พระครูสังฆรักษ์ (หลวงพ่อหิน) วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ
44.พระปัญญาพิศาลเถร (สงวน) วัดราชประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
45.พระธรรมภาณโศภน (สวัสดิ์) วัดปลดสัตว์ อ่างทอง
46.พระพ่อสาม อภิญจโน วัดไตรวิเวการาม สุรินทร์
47.พระพ่อศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม ร้อยเอ็ด
48.พระสุทธิสารโสภณ(โสภณ) วัดศรีโพนแท่น เลย
49.พระอาจารย์เปลี่ยน วัดบ้านปง เชียงใหม่
50.พระชินวงศาจารย์(พุธ) วัดป่าสาลวัน นครราชสีมา
51.หลวงพ่อบุญ วัดบ้านนา ระยอง
52.หลวงพ่อคร่ำ วัดวังหน้า ระยอง
53.พระครูวิจิตรธรรมภาณี(สิงห์) วัดหนองบัว อุบลฯ
54.พระอาจารย์เมือง พลวฑฺโฒ วัดป่ามัชฌิมวาส กาฬสินธุ์

รายการปูชนียวัตถุมงคลของหลวงปู่แหวนมีดังนี้
1.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 5 นิ้ว สร้างจำนวน 1517 องค์ องค์ละ 700 บาท
2.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 9 นิ้ว สร้างจำนวน 1000 องค์ องค์ละ 2,000 บาท
3.เหรียญพระแก้วมรกต (มณีรัตนะ) ชนิดทองคำจำนวน 84 เหรียญจัดเป็นชุดมีทองคำ เงิน นวะ ทองแดง 1,200 บาท
-ชนิดเหรียญเงิน 100 บาท
-ชนิดนวโลหะ 50 บาท
-ชนิดทองแดงชุบทอง 10 บาท
4.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวบาน บรรจุเกศา ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์สำหรับจัดเป็นชุดๆละ 5,000 บาท
-ชนิดเงินบรรจุเกศา องค์ละ 300 บาท
-ชนิดนวโลหะบรรจุเกศา องค์ละ 200 บาท
-ชนิดเนื้อชินชุบทองอัดพลาสติก องค์ละ 85 บาท
5.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวตม บรรจุเกศาชนิดผง องค์ละ 50 บาท
6.พระสมเด็จพิมพ์พิเศษมหาพุทธานุภาพ องค์ละ 50 บาท
7.พระสมเด็จมหาสิทธิโชค องค์ละ 40 บาท
8.พระสมเด็จผงใบลานชาญวิทยา องค์ละ 20 บาท
9.พระสมเด็จพิมพ์หูบายศรีมีเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
10.พระสมเด็จพิมพ์หูยานอยู่ยงคงกระพัน องค์ละ 20 บาท
11.พระสมเด็จพิมพ์ปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 20 บาท
12.พระสมเด็จพิมพ์ซุ้มทรงยันต์กันภัย องค์ละ 20 บาท
13.สมเด็จพิมพ์นางพญามหาเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
14.สมเด็จทุ่งเศรษฐีทวีทรัพย์ องค์ละ 20 บาท
15.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 10 บาท
16.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 10 บาท
17.พระสมเด็จพิมพ์ทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 20 บาท
18.พระรอดปลอดภัยอันตราย องค์ละ 20 บาท
19.พระซุ้มกอหลวงปู่แหวนแสนสุข องค์ละ 10 บาท
20.เหรียญพระประธานยุคเชียงแสนวัดดอยแม่ปั๋ง ฉลองอายุ 84 ปี เหรียญละ 20 บาท
21.เหรียญเพิ่มยศของอดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ เสก 1ไตรมาส เหรียญละ 20 บาท
22.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวนยืนหลังรางปืน ฉลองอายุ 84 ปี ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์ จัดชุดละ 2,500 บาท
-ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 30 บาท
23.เหรียญมหามงคล (พระมหารัชชมังคลาจารย์)
-ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 20 บาท
24.รูปหล่อโลหะหลวงปู่แหวน สุจิณโณ 5 นิ้ว องค์ละ 500 บาท
25.ตราวัด สำหรับกลัดเนคไท หลวงปู่แหวน สุจิณโณ อันละ 100 บาท
26.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
ชนิดกลมใหญ่
-ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ เหรียญละ 70 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 30 บาท
ชนิดกลมเล็ก
-ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อโลหะ เหรียญละ 40 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 20 บาท
27.เหรียญสมเด็จพระสังฆราชองค์ปัจจุบัน เหรียญละ 100 บาท

เหรียญหลวงปู่แหวนรุ่นสร้างตึกพยาบาล ภปร.กะไหล่ทอง ปี ๒๔๒๑



ปี 2521 เหรียญหลังภปร.ใหญ่ หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่

เหล่าคณะลูกศิษย์ร่วมกันจัดสร้าง เพื่อหาปัจจัยไปสมทบทุนสร้างอาคารโรงพยาบาลและเพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 90 ปีของหลวงปู่ มีชนิดเนื้อโลหะดังนี้
แบบหลังภปร.ใหญ่
-เนื้อทองคำแบบมีหมายเลข สร้างจำนวน 2,521 เหรียญ
-เนื้อทองคำแบบพิเศษ(ตอกโค๊ด) สร้างจำนวน 444 เหรียญ
-เนื้อเงิน สร้างจำนวน 10,000 เหรียญ
-เนื้อทองแดงชุปนิเกิ้ล สร้างจำนวน 16,000 เหรียญ
-เนื้อทองแดงรมน้ำตาล สร้างจำนวน 3,000 เหรียญ
-เนื้อทองแดงกะไหล่เงิน สร้างจำนวน 2,000 เหรียญ
-เนื้อทองแดงกะไหล่ทอง สร้างจำนวน 2,000 เหรียญ

แบบหลังภปร.เล็ก
-เนื้อทองแดงรมน้ำตาล สร้างจำนวน 500,000 เหรียญ
-เนื้อทองแดงชุปนิเกิ้ล สร้างจำนวน 16,000 เหรียญ

เหรียญมหามงคลพิมพ์ใหญ่ อ.อุ.ม หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ปี 2517 เนื้อนวะ

พิธีปลุกเสกในวาระแรก ปี 2516
-วัตถุมงคลชุดนี้มี พระพุทธรูปบูชาจำลอง ขนาด 5 นิ้ว 9 นิ้ว รวมพระเครื่องของหลวงปู่แหวน สุจินโณ ซึ่งได้อนุญาตให้ทางวัดเกาะจัดสร้างหลายชนิด เมื่อปีพ.ศ.2516 
-ปลุกเสกครั้งที่ 1 ในวันมาฆะบูชา 7 กุมภาพันธ์ ปี 2516 
-ปลุกเสกครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 7 หลวงปู่อายุครบ 7 รอบ 16 มกราคม ปี 2517

พิธีมหาพุทธาภิเษกวาระที่ 2 หมายกำหนดการ ไว้ 3 วัน

-ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษก พระพุทธปฏิมาปรานประจำพระอุโบสถสร้างใหม่ ของวัดสัมพันธวงศ์, พระพุทธรูปบูชาจำลองหน้าตัก 5 นิ้ว 9 นิ้ว และพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พระเกศพระพุทธปฏิมาประธาน โดยกราบทูลอาราธนา เจ้าประคุณสมเด็จพระสังฆราชเสด็จเป็นประธานประกอบพิธี กับได้ทูลเชิญพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ ยุคล เป็นประธานอำนวยการจัดงาน และทูลเชิญ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงษ์ประพันธ์ องค์อุปถัมภ์ของวัด เป็นประธานที่ปรึกษา
ณ พระอุโบสถวัดสัมพันธวงศ์ (วัดเกาะ) กรุงเทพมหานครวันที่ 29 30 31 ธันวาคม พ.ศ. 2517

กำหนดมหาพุทธาภิเษกเฉพาะวันที่ 30 ธ.ค. 2517
-มีพิธีในวันจันทร์ที่ 30 ธ.ค. 2517 สมเด็จพระสังฆราช ทรงประกอบ พิธีจุดเทียนชัยมหาพุทธาภิเษก เวลา 20.36 นาฬิกา มีพระอาจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณ จากภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ รวม 60 รูป มานั่งปรกบริกรรมภาวนาปลุกเสกตลอดคืน มีดังนี้

1.หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี (ชรามาก จะแผ่พลังเมตตาจิตมาในวันพิธี)
2.หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ (ชรามาก จะแผ่นพลังเมตตาจิตมาให้ในวันพิธี)
3.พระอาจารย์บุญมา ฐิตเปโต วัดสิริสาลวัน อุดรธานี
4.พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ วัดนิโครธาราม อุดรธานี
5.พระอาจารย์บุญ ชินวโส วัดศรีสว่างแดนดิน สกลนคร
6.พระอาจารย์จันทร์ เขมปปตโต วัดจันทาราม หนองคาย
7.พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม สกลนคร
8.พระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ วัดภูทอก หนองคาย
9.พระอาจารย์ลี ฐิตธมโม วัดศรีชมพู สกลนคร
10.พระอาจารย์แว่น ธนปาโล วัดป่าสุทธาวาส สกลนคร
11.พระอาจารย์อุ่น กลยาณธมโม วัดป่าบ้านโคก สกลนคร
12.พระอาจารย์สุภาพ ธมมปญโญ วัดทุ่งสว่าง สกลนคร
13.พระอาจารย์คล้าย ทานรโต วัดสุจินต์ประชาราม สกลนคร
14.พระอาจารย์เตรียม ธมมธโร วัดสามัคคีธรรม สกลนคร
15.พระอาจารย์เคน เขมาสโย วัดป่าบ้านหนองหว้า สกลนคร
16.พระอาจารย์บุญมี ฐิตปุญโญ วัดประชานิยม สกลนคร
17.พระอาจารย์ประสาร ปญญาพโล วัดคามวาสี สกลนคร
18.พระอาจารย์บัว วัดป่าบ้านเสาเส้า อุดรธานี
19.พระอาจารย์ปั่น ญาณวโร วัดพุฒาราม สกลนคร
20.พระอาจารย์สมัย ทีฆายุโก วัดโนนแสงทอง สกลนคร
21.พระอาจารย์เกิ่ง วิทิโต วัดสามัคคีบำเพ็ญผล สกลนคร
22.พระสังวรวิมลเถร (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯ
23.พระวิบูลเมธาจารย์ (หลวงพ่อเก็บ) วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
24.พระครูสุตาธิการี (หลวงพ่อทองอยู่) วัดหนองพะอง สมุทรสาคร
25.พระครูวิจารณ์สมถกิจ (จรัญ เขมจารี) วัดประชารังสรรค์ ศรีสะเกษ
26.พระครูพิเนตสมณกิจ วัดประชารังสฤษฎ์ ศรีสะเกษ
27.พระครูพิพิธพัชรศาสน์ (หลวงพ่อจ้วน) วัดเขาลูกช้าง เพชรบุรี
28.พระครูพิทักษ์วิหารกิจ (หลวงพ่อสา) วัดราชนัดดา กรุงเทพฯ
29.พระครูญาณจักษ์(ปรมาจารย์ผ่อง จินดา) วัดจักรวรรดิ กรุงเทพฯ
30.พระศีลขันธโสภณ (หลวงพ่อสนิท) วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
31.พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต กรุงเทพฯ
32.พระอุดมสารโสภณ (ผาสุก) วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ
33.พระญาณโพธิ (หลวงพ่อเข็ม) วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ
34.พระครูวรพรตศีลขันธ์ (หลวงพ่อแฟ้ม) วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
35.พระสิรินันทมุนี (สนั่น) วัดพิตรพิมุข กรุงเทพฯ
36.หลวงปู่ฟัก วัดวังไทรติ่ง ประจวบคีรีขันธ์
37.พระครูประจักษ์ตันตยาคม (เฉลา) วัดคีรีภาวนาราม ระยอง
38.พระอาจารย์พวง สุวีโร วัดป่าบ้านปูลู อุดรธานี
39.พระอาจารย์แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
40.พระอาจารย์ศรีนวล สิริปญโญ วัดศรีไตรรัตนนิมิต อุดรธานี
41.พระอาจารย์บุญมี วัดถ้ำกลองเพล อุดรธานี
42.พระอาจารย์หนู สุจิตโต วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
43.พระครูสังฆรักษ์ (หลวงพ่อหิน) วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ
44.พระปัญญาพิศาลเถร (สงวน) วัดราชประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
45.พระธรรมภาณโศภน (สวัสดิ์) วัดปลดสัตว์ อ่างทอง
46.พระพ่อสาม อภิญจโน วัดไตรวิเวการาม สุรินทร์
47.พระพ่อศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม ร้อยเอ็ด
48.พระสุทธิสารโสภณ(โสภณ) วัดศรีโพนแท่น เลย
49.พระอาจารย์เปลี่ยน วัดบ้านปง เชียงใหม่
50.พระชินวงศาจารย์(พุธ) วัดป่าสาลวัน นครราชสีมา
51.หลวงพ่อบุญ วัดบ้านนา ระยอง
52.หลวงพ่อคร่ำ วัดวังหน้า ระยอง
53.พระครูวิจิตรธรรมภาณี(สิงห์) วัดหนองบัว อุบลฯ
54.พระอาจารย์เมือง พลวฑฺโฒ วัดป่ามัชฌิมวาส กาฬสินธุ์

รายการปูชนียวัตถุมงคลของหลวงปู่แหวนมีดังนี้
1.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 5 นิ้ว สร้างจำนวน 1517 องค์ องค์ละ 700 บาท
2.พระพุทธรูปบูชา ขนาด 9 นิ้ว สร้างจำนวน 1000 องค์ องค์ละ 2,000 บาท
3.เหรียญพระแก้วมรกต (มณีรัตนะ) ชนิดทองคำจำนวน 84 เหรียญจัดเป็นชุดมีทองคำ เงิน นวะ ทองแดง 1,200 บาท
-ชนิดเหรียญเงิน 100 บาท
-ชนิดนวโลหะ 50 บาท
-ชนิดทองแดงชุบทอง 10 บาท
4.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวบาน บรรจุเกศา ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์สำหรับจัดเป็นชุดๆละ 5,000 บาท
-ชนิดเงินบรรจุเกศา องค์ละ 300 บาท
-ชนิดนวโลหะบรรจุเกศา องค์ละ 200 บาท
-ชนิดเนื้อชินชุบทองอัดพลาสติก องค์ละ 85 บาท
5.รูปเหมือนหลวงปู่แหวน นั่งในกลีบบัวตม บรรจุเกศาชนิดผง องค์ละ 50 บาท
6.พระสมเด็จพิมพ์พิเศษมหาพุทธานุภาพ องค์ละ 50 บาท
7.พระสมเด็จมหาสิทธิโชค องค์ละ 40 บาท
8.พระสมเด็จผงใบลานชาญวิทยา องค์ละ 20 บาท
9.พระสมเด็จพิมพ์หูบายศรีมีเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
10.พระสมเด็จพิมพ์หูยานอยู่ยงคงกระพัน องค์ละ 20 บาท
11.พระสมเด็จพิมพ์ปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 20 บาท
12.พระสมเด็จพิมพ์ซุ้มทรงยันต์กันภัย องค์ละ 20 บาท
13.สมเด็จพิมพ์นางพญามหาเสน่ห์ องค์ละ 20 บาท
14.สมเด็จทุ่งเศรษฐีทวีทรัพย์ องค์ละ 20 บาท
15.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนปรกโพธิ์ยอดคุ้มครอง องค์ละ 10 บาท
16.พระสมเด็จพิมพ์คะแนนทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 10 บาท
17.พระสมเด็จพิมพ์ทรงนิยมเมตตาบารมี องค์ละ 20 บาท
18.พระรอดปลอดภัยอันตราย องค์ละ 20 บาท
19.พระซุ้มกอหลวงปู่แหวนแสนสุข องค์ละ 10 บาท
20.เหรียญพระประธานยุคเชียงแสนวัดดอยแม่ปั๋ง ฉลองอายุ 84 ปี เหรียญละ 20 บาท
21.เหรียญเพิ่มยศของอดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ เสก 1ไตรมาส เหรียญละ 20 บาท
22.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวนยืนหลังรางปืน ฉลองอายุ 84 ปี ชนิดทองคำ สร้างจำนวน 17 องค์ จัดชุดละ 2,500 บาท
-ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 30 บาท
23.เหรียญมหามงคล (พระมหารัชชมังคลาจารย์)
-ชนิดเนื้อเงิน องค์ละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ องค์ละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง องค์ละ 20 บาท
24.รูปหล่อโลหะหลวงปู่แหวน สุจิณโณ 5 นิ้ว องค์ละ 500 บาท
25.ตราวัด สำหรับกลัดเนคไท หลวงปู่แหวน สุจิณโณ อันละ 100 บาท
26.เหรียญรูปเหมือนหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
ชนิดกลมใหญ่
-ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 150 บาท
-ชนิดเนื้อนวโลหะ เหรียญละ 70 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 30 บาท
ชนิดกลมเล็ก
-ชนิดเนื้อเงิน เหรียญละ 100 บาท
-ชนิดเนื้อโลหะ เหรียญละ 40 บาท
-ชนิดเนื้อทองแดง เหรียญละ 20 บาท
27.เหรียญสมเด็จพระสังฆราชองค์ปัจจุบัน เหรียญละ 100 บาท

เหรียญพระปรกใบมะขาม 90 ปี หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ปี๒๕๒๑ เนื้อนวะ







































เหรียญพระปรกใบมะขาม 90 ปี หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ปี๒๕๒๑ เนื้อทองแดง






































เหรียญ ๙๕ พรรษาหลวงปู่แหวน ปี๒๕๒๕


































เหรียญเมตตาหลวงปู่สิม ปี๒๕๑๗






























































เหรียญรุ่นแรกหลวงพ่อเปิ่น พ ขีด ปี๒๕๑๙